วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

CentOS Authentication Server

CentOS Authentication Server

บทนํา

การพิสูจนตัวตน (Authentication)


การปกปองความมั่นคงปลอดภัยของระบบและขอมูลภายในองคกรถือเปนเรื่องสําคัญในปจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากการถูกคุกคามโดยผูไมประสงคดีหรือจากโปรแกรมบางประเภทไดเพิ่ม มากขึ้นและอาจนํามาซึ่งความเสียหายอยางมากตอองคกร ดังนั้นถาภายในระบบมีการควบคุม ความปลอดภัยที่ดีจะชวยลดโอกาสเสี่ยงตอการถูกคุกคามได เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพิสูจนตัวตนซึ่งเปนขั้นตอน พื้นฐานที่สําคัญของการควบคุมความปลอดภัย ในกระบวนการการพิสูจนตัวตนจะนําหลักฐานที่ผูใชกลาวอางมาตรวจสอบวาบุคคลที่กลาวอางนั้นเปนใครและไดรับอนุญาตใหสามารถเขาภายในระบบไดหรือไม การพิสูจนตัวตนมีหลายประเภทที่
ใชอยูในปจจุบัน เชน การพิสูจน ตัวตนโดยใชรหัสผานหรือโดยใชรหัสผานที่ใชเพียงครั้งเดียว เปนตน แตละชนิดนั้นจะมีขอดี ขอเสียแตกตางกันไปขึ้นอยูกับความจําเปนในการใชงาน ในระบบเครือขายแบบเปดหรืออินเตอรเน็ตนั้นกาพิสูจนตัวตนถือไดวาเปนกระบวนการเริ่มตนและมีความสําคัญที่สุดในการ ปกปองเครือขายใหปลอดภัย และกลาวถึงโพรโตคอลการสื่อสารที่มีการพิสูจนตัวตนที่นิยมใช ในปจจุบัน เชน Secure Socket Layer (SSL) Internet Security (IPsec)


การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐

ดวยในปจจุบันการติดตอสื่อสารผานระบบคอมพิวเตอรหรือระบบอิเล็กทรอนิกสเริ่มเขา ไปมีบทบาทและทวีความสําคัญเพิ่มขึ้นตามลําดับตอระบบเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน แตในขณะเดียวกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรมีแนวโนมขยายวงกวาง และทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรนับเปนพยานหลักฐานสําคัญใน การดําเนินคดี อันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการสืบสวน สอบสวนเพื่อนําตัวผูกระทําความผิดมา ลงโทษ จึงสมควรกําหนดใหผูใหบริการมีหนาที่ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ดังกลาว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๖ วรรค ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดกําหนดหลักเกณฑไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา "หลักเกณฑการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู ใหบริการ พ.ศ. ๒๕๕๐"
ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม
ประกาศนี้
ขอ ๔ ในประกาศนี้
"ผูใหบริการ" หมายความวา
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย ประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
"ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร" หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของ ระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร นั้น บริการใชอินเทอรเน็ตและเครือขายทั่วไปในหนวยงานของตนเองอีกดวย.


"ระบบคอมพิวเตอร " หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนด คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
"ผูใชบริการ" หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม
ขอ ๕ ภายใตบังคับของมาตรา ๒๖ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเภทของผูใหบริการซึ่งมีหนาที่ตองเก็บรักษาขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรแบงไดดังนี้
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลทั่วไปในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย ประการอื่น ทั้งนี้โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น สามารถ
จําแนกได ๔ ประเภท ดังนี้
ก . ผู ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ก า ร ก ร ะ จ า ย ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง (Telecommunication and
Broadcast Carrier) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตาม ภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ข. ผูใหบริการการเขาถึงระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Access Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตาม
ภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ค. ผูใหบริการเชาระบบคอมพิวเตอร หรือใหเชาบริการโปรแกรมประยุกตตาง ๆ (Host Service Provider) ประกอบ
ดวยผูใหบริการดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทาย ประกาศนี้
ง. ผูใหบริการรานอินเทอรเน็ต ดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
(๒) ผูใหบริการในการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลตาม (๑) (Content Service Provider) เชน ผูใหบริการขอมูลคอมพิวเตอรผานแอพพลิเคชั่นตาง ๆ (Application Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการ
ดังภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ขอ ๖ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่ผูใหบริการตองเก็บรักษา ปรากฏดังภาคผนวก ข. แนบทายประกาศนี้
ขอ ๗ ผูใหบริการมีหนาที่เก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ดังนี้
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๑
(๒) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๓) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ค. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๔) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ง. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๓
(๕) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๒) มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๔

ทั้งนี้ ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรตามภาคผนวกตาง ๆ ที่กลาวไปขางตนนั้น
ใหผูใหบริการเก็บเพียงเฉพาะในสวนที่เปนขอมูลจราจรที่เกิดจากสวนที่เกี่ยวของกับบริการของตนเทานั้น
ขอ ๘ การเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ผูใหบริการตองใชวิธีการที่มั่นคงปลอดภัย ดังตอไปนี้
(๑) เก็บในสื่อ (Media) ที่สามารถรักษาความครบถวนถูกตองแทจริง (Integrity) และระบุตัวบุคคล (Identification)
(๒) ที่เขาถึงสื่อดังกลาวไดมีระบบการเก็บรักษาความลับของขอมูลที่จัดเก็บ และกําหนดชั้นความลับ ในการเขาถึงขอมูลดังกลาว เพื่อรักษาความนาเชื่อถือของขอมูล และไมใหผูดูแลระบบ สามารถแกไขขอมูลที่เก็บรักษาไว เชน การเก็บไวใน
Centralized Log Server หรือการ ทํา Data Archiving หรือทํา Data Hashing เปนตน เวนแตผูมีหนาที่เกี่ยวของที่เจาของหรือผูบริหารองคกร กําหนดใหสามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวได เชน ผูตรวจสอบระบบ สารสนเทศขององคกร(IT Auditor) หรือบุคคลที่องคกรมอบหมาย เปนตน รวมทั้ง พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้

(๓) จัดใหมีผูมีหนาที่ประสานงานและใหขอมูลกับพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดรับ การแตงตั้งตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อใหการสงมอบขอมูลนั้น เปนไปดวยความรวดเร็ว

(๔) ในการเก็บขอมูลจราจรนั้น ตองสามารถระบุรายละเอียดผูใชบริการเปน รายบุคคลได (Identification and Authentication) เชน ลักษณะการใชบริการ Proxy Server, Network Address Translation (NAT) หรือ Proxy Cache หรือ
Cache Engine หรือบริการ Free Internet หรือบริการ 1222 หรือ Wi-Fi Amnat-EDv2 ตองสามารถระบุ ตัวตนของผูใชบริการเปนรายบุคคลไดจริง
(๕) ในกรณีที่ผูใหบริการประเภทหนึ่งประเภทใด ในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ขางตน ได ใหบริการในนามตนเอง แตบริการดังกลาวเปนบริการที่ใชระบบของผูใหบริการซึ่งเปน บุคคลที่สาม เปนเหตุใหผูใหบริการในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ไมสามารถรูได
วา ผูใชบริการที่เขา มาในระบบนั้นเปนใคร ผูใหบริการเชนวานั้นตองดําเนินการใหมีวิธีการระบุและยืนยัน ตัวบุคคล (Identification and Authentication) ของผูใชบริการผานบริการของตนเองดวย

ขอ ๙ เพื่อใหขอมูลจราจรมีความถูกตองและนํามาใชประโยชนไดจริง ผูใหบริการตองตั้งนาฬิกาของอุปกรณบริการทุกชนิดใหตรงกับเวลาอางอิงสากล (Stratum 0) โดยผิดพลาดไม เกิน ๑๐ มิลลิวินาที
ขอ ๑๐ ผูใหบริการซึ่งมีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามขอ ๗ เริ่มเก็บขอมูล ดังกลาวตามลําดับ ดังนี้
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพน สามสิบวัน นับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(๒) ใหผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. เฉพาะผูใหบริการเครือขายสาธารณะหรือผู ใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP)เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งรอยแปด สิบวันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาผูใหบริการอื่นนอกจากที่กลาวมาในขอ ๑๐ (๑) และขอ ๑๐ (๒) ขางตน ใหเริ่มเก็บขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งปนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐


สิทธิชัย โภไคยอุดม

รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



ความเปนมาของ Linux CentOS
เมื่อเราไดทําการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐ แลว ขั้นตอนตอไปจะเปนวิธีการติดตั้งระบบ OS ที่ใชในการจัดเก็บ และบริหารระบบงาน ในที่นี้เราจะใช CentOS 5.5 หากทานใดจะนําไปใชหรือพัฒนาตอเปน Linux Distribution ไหนก็ไดในปจจุบันซอฟตแวรสําหรับใชทําเปนระบบ Intranet หรือ Internet Server ขององคกรมีใหเลือกใชงานหลายตัวดวยกัน อาทิ เชน Windows Server (Windows Server 2003, Windows Server 2008), Linux Server (RedHat, Fedora, CentOS, Ubuntu, Debian, Slackware, SuSE, Mandriva, OpenNA, IPCop, Linux-SIS), BSD Server (FreeBSD, OpenBSD, NetBSD), Solaris (Sun Solaris, OpenSolaris) เปนตน การที่จะเลือกระบบปฏิบัติการตัวใดมาทําเซิรฟเวอรใชงานในองคกรนั้น สําหรับ Admin มือเกาไมนาเปนปญหามากนักเพราะไดทดสอบลองผิดลองถูกมาพอสมควร จะวาไปแลวในอดีตใครที่ติดตั้ง Linux และทําการคอนฟกใหระบบใชงานผานไดก็ถือวาเกงพอสมควร รวมทั้งหลังการติดตั้งเสร็จก็สามารถเปดใชงานไดตามปกติ นอยครั้งนักที่ระบบจะโดนแฮกซ แตหากเปน Admin นองใหมในปจจุบันการลองผิดลองถูกคงเปนการยากแลว เนื่องจากปจจุบันมีแฮกเกอรทั่วบานทั่วเมืองใครๆ ก็สามารถเรียนรูวิธีการแฮกซระบบเซิรฟเวอรผานเว็บ Google สําหรับ Admin นองใหมกวาจะทดลองสําเร็จบางครั้งระบบโดนเจาะไปเรียบรอยแลว


ระบบปฏิบัติการเครือขายลีนุกซที่ชื่อวา CentOS ยอมาจาก Community ENTerprise Operating System เปนลีนุกซที่พัฒนามาจากตนฉบับ RedHat Enterprise Linux (RHEL) โดยที่ CentOS ไดนําเอาซอรสโคดตนฉบับของ RedHat มาทําการคอมไพลใหมโดยการพัฒนายังเนน พัฒนาเปนซอฟตแวร Open Source ที่ถือลิขสิทธิ์แบบ GNU General Public License ในปจจุบัน CentOS Linux ถูกนํามาใชในการทํา Web Hosting กันอยางกวางขวางเนื่องจากเปนระบบปฏิบัติการที่มีตนแบบจาก RedHat ที่มีความแข็งแกรงสูง (ปจจุบันเนนพัฒนาในเชิง การคา) การติดตั้งแพ็กเกจยอยภายในสามารถใชไดทั้ง RPM, TAR, APT หรือใชคําสั่ง YUM ใน การอัปเดทซอฟตแวรแบบอัตโนมัติ สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต


เหตุผลหลักที่องคกรจะเลือกใชระบบ CentOS

สําหรับองคกรธุรกิจเหมาะสมอยางมากที่จะนําระบบตัวลีนุกซตัวนี้มาทําเปน เซิรฟเวอร ใชงานภายในองคกร
โดยพอสรุปเหตุผลหลักในการนําระบบนี้มาใชงานไดดังนี้
1. เพื่อประหยัดงบประมาณขององคกร เนื่องจาก CentOS เปนซอฟตแวรโอเพนซอส องคกรไมจําเปนตองจายคา ลิขสิทธซอฟตแวร (เพียงแตผูดูแลระบบตองลงทุนเรียนรูระบบกอน การใชงาน ในปจจุบันสามารถเรียนรูไดงายดายผานทาง
หนาเว็บ Google.com)

2. เพื่อนํามาทําเซิรฟเวอรบริการงานตางๆ ในองคกร ซึ่งภายใน CentOS มีแพ็กเกจยอยที่ นํามาใชทําเซิรฟเวอรสําหรับใช
งานในองคกรจํานวนมาก อาทิ เชน Web Server(Apache), FTP
Server(ProFTPd/VSFTPd),MailServer(Sendmail/Postfix/Dovecot),Database Server(MySQL/P ostgreSQL), File and Printer Server(Samba), Proxy Server(Squid), DNS Server(BIND), DHCP Server(DHCPd), Antivirus
Server(ClamAV), Streaming Server, RADIUS Server(FreeRADIUS), Control Panel(ISPConfig) เปนตน

3. เพื่อนํามาทําเปนระบบเซิรฟเวอรสําหรับจายไอพีปลอม (Private IP Address) ไปเลี้ยง เครื่องลูกขายในองคกร รวมทั้งตั้งเปนระบบเก็บ Log Files ผูใชงาน เพื่อใหสอดคลองกับพระ ราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอรป 2550



แพ็กเกจยอดนิยมสําหรับใชงานบนระบบ CentOS
สําหรับในแผน CD ของ CentOS มีแพ็กเกจที่สามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันทีจํานวนมาก โดยสามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันที สําหรับแพ็กเกจที่ไมมีอยูในแผน CD สามารถเขาไปดาวนโหลดไดที่เว็บไซต รวมเปน CD 6 แผน
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-1of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-2of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-3of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-4of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-5of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-6of6.iso
อันนี้ link ที่อยูมันเลย http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/
Mirror : http://mirror1.ku.ac.th/centos-dvd/
คิดวาคงเพียงพอตอการใชงาน เพื่อที่จะเปนการยกระดับหรือพัฒนาความรู
ความสามารถในวงการ Admin ไทย



เตรียมความพรอมกอนการติดตั้ง
การทําระบบ Authentication + LOG นั้นจะตองมีอุปกรณในการทํางาน ดังตอไปนี้
1. SPEC COMPUTER
CPU ขั้นต่ําประมาณ 1.5 GHz
HDD ประมาณ 160 GB
RAM ประมาณ 512 MB
DVD-ROM (เพราะ CentOS 5.5 เปนแบบ DVD)
VGA ONBOARD (เพราะเราใชเปน TextMode)
อื่น ๆ SOUND USB ไมจําเปนในการติดตั้ง
2. NETWORK
LAN CARD 2 ใบ แนะนําใหเปน CARD ไมแนะนําใหเปน ONBOARD เพราะบางรุน CentOS 5.5 ไม สนับสนุนตัวอยางยี่หอที่แนะนําใหใชงาน Real Tek SMC Zyxel 3COM D-Link
3. สายแลน UTP 2 เสน
เสนที่ 1 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง Switch HUB ที่สามารถเชื่อมตอ Internet ได เสนที่ 2 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง
Computer Client ที่จะใชในการ Config
4. OS Linux CentOS 5.5 DVD - I386
5. Computer Client ใชในการ Config คาตาง ๆ และใชในการทดสอบระบบ (แนะนํา ใหเปนNoteBook
เพื่องายตอการเคลื่อนยาย)
6. พื้นฐานในการใชงานระบบปฏิบัติการ DOS และ Network (เบื้องตน)

วันเสาร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ดอกบัวหลวง









สายพันธุ์บัวหลวง

1. บัวพันธุ์ดอกสีชมพู ( บัวแหลมชมพู ) มีชื่อว่า ปทุม ปัทมา โกกระนต หรือ โกกนุต ดอกขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ ปลายเรียวสีชมพู กลีบดอกชั้นนอกมี 4-5 กลีบ รูปไข่มีขนาดเล็ดเรียงตัวกัน 2 ชั้น ส่วนกลางของกลีบมีรูปร่างโค้งป่อง ตรงกลางสีชมพูอมเขียว ส่วนกลีบดอกชั้นกลางและชั้นในสีชมพูเข้ม โคนกลีบดอกสีขาวนวล มีประมาณ 13-14 กลีบ เรียงตัวเป็นชั้น ประมาณ 3 ชั้น อยู่โดยรอบฐานดอก กลีบชั้นนอกและชั้นในมีสีและรูปร่างคล้ายชั้นกลางแต่เล็กกว่ากลีบในชั้นกลาง

2. บัวหลวงพันธุ์ดอกสีขาว ( บัวแหลมขาว ) มีชื่อว่า บุณฑริก หรือ ปุณฑริก ดอกขนาดใหญ่เป็นรูปไข่ ปลายเรียว คล้ายบัวพันธุ์ปทุม ดอกมีสีขาวประกอบด้วยกลีบดอกชั้นนอกสีขาวอมเขียว ส่วนกลีบในชั้นกลางและชั้นในสีขาวปลายกลีบดอกสีชมพูเรื่อๆ รูปร่างของกลีบและการเรียงตัวของกลีบดอกคล้ายดอกบัวพันธุ์ปทุม

3. บัวหลวงชมพูซ้อน ( บัวฉัตรชมพู ) มีชื่อว่า สัตตบงกช ดอกมีขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ทรงป้อม สีชมพู ประกอบด้วยกลีบนอกเป็นรูปรี มี 4-7 กลีบ กลีบเล็กเรียนซ้อนกันเป็นชั้น 2-3 ชั้น สีเขียวอมชมพู กลีบในสีชมพูตลอด ส่วนโคนกลีบที่ติดกับฐานรองดอกมีสีขาวอมเหลือง กลีบในมีประมาณ 12-16 กลีบ กลีบในชั้นนอกและชั้นในมีขนาดเล็กกว่าชั้นกลาง เป็นรูปไข่ที่มีส่วนกว้างอยู่ด้านบน เกสรตัวผู้ชั้นนอกๆ เป็นหมัน โดยมีก้านชูที่เป็นเกสรตัวผู้ที่เป็นแผ่นบางๆ สีชมพูคล้ายกลีบในแต่มีขนาดเล็กกว่า ไม่มีอับเรณู แต่ปลายกลีบมีส่วนยื่นออกมาที่มีฐานเรียวเล็ก ส่วนปลายพองใหญ่ มีสีขาวนวล

4. บัวหลวงขาวซ้อน ( บัวฉัตรขาว ) มีชื่อว่า สัตตบุตย์ ดอกมีขนาดใหญ่ ดอกตูมเป็นรูปไข่ทรงป้อม คล้ายบัวพันธุ์สัตตบงกช ดอกมีสีขาว ประกอบด้วยกลีบดอกสีเขียวอมขาว ส่วนกลีบชั้นในสีขาวตลอด ส่วนรูปทรงและการเรียงตัวของกลีบดอกคล้ายบัวพันธุ์สัตตบงกช

วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ดอกพุดตาน





พุดตานเป็นไม้พุ่มเตี้ย ตามต้นและกิ่งมีขน ใบมีลักษณะคล้ายใบฝ้าย ขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ดอกมีขนาดใหญ่ ลักษณะคล้ายดอกชบาซ้อน บานในตอนเช้า เมื่อแรกบานจะมีสีขาว เมื่อสายจะเปลี่ยนสีเป็นสีชมพู และเป็นสีชมพูเข้มในตอนบ่าย ออกดอกดกตลอดทั้งปี
ต้นพุดตาน ชอบอยู่กลางแจ้ง ชอบแสงแดดจัด ไม่ชอบที่แฉะหรือมีน้ำขัง ปลูกได้ดีในที่ดอน ดินร่วนซุย ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง
ดอกพิกุล






พิกุลเป็นไม้ยืนต้น ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี รูปไข่กว้าง 2 - 6 ซม. ยาว 7 - 15 ซม.ปลายใบแหลมเป็นติ่งขอบใบเป็นคลื่น ดอกเดี่ยว อยู่รวมกันเป็นกระจุกที่ปลายกิ่งหรือที่ซอกใบ กลีบเลี้ยง 8 กลีบ เรียงซ้อนกัน 2 ชั้น กลีบดอกประมาณ 24 กลีบ เรียงซ้อนกันโคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเล็กน้อย ดอกสีขาว เมื่อใกล้โรยสีเหลืองอมน้ำตาล ดอกบานวันเดียวแล้วร่วง มีกลิ่นหอม ออกดอกตลอดปี ผลสีเหลือง รสหวานอมฝาด

ดอกราตรี




ราตรีเป็นไม้ไม่ผลัดใบ เป็นไม้พุ่มสูง 4 ม. ใบรูปหอกแคบ ยาว 6-20 ซม.กว้าง 2-4.5 ซม.เรียบเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกสีเขียวออกขาวถึงเหลือง วงกลีบดอกรูปหลอดผอม ยาว 2-2.5 ซม.เป็น 5 แฉก แหลม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-13 มม.บานตอนกลางคืน มีช่อดอกแบบช่อกระจุก มีกลิ่นหอมแรง มักส่งกลิ่นในตอนกลางคืน ผลมีเนื้อหลายเมล็ดสีขาว เป็นพิษ

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ดอกผกากรอง




ลักษณะทั่วไป  : เป็นไม้พุ่มที่พบทั่วไปในบ้านเรา เป็นพืชคลุมดิน ลำต้นเป็นพุ่มหรือไม้พุ่มกึ่งเลื้อย แตกกิ่งทอดเลื้อยได้ไกล 1-2 เมตร ใบจะมีสีเขียวเข้ม ใบรูปไข่ขอบใบจักเล็กน้อย ผิวใบจะมีขนอยู่ ทำให้รู้สึกสาก ๆ เมื่อจับต้อง ผกากรองนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ โดยอาจปลูกเป็นแถวหรืออาจปลูกเป็นกลุ่มให้เกิดเป็นพุ่มก็ได้

ดอกของ ผกากรอง มีลักษณะสีสันที่สวยงามมาก มีหลายสีตั้งแต่เหลือง ขาว ส้ม ชมพู ม่วงอมชมพู หรือมีสองสีในช่อดอกเดียวกัน มีกลิ่นฉุน ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง ช่อละ 20-25 ดอก ดอกย่อยรูปกรวย โคนกลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 4 แฉก ทยอยบานจากด้านนอกเข้าไปด้านในช่อดอก ช่อดอกบานเต็มที่กว้าง 3-4 เซนติเมตร

ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ใบรูปไข่ถึงรูปใบหอก กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-6 เซนติเมตร ปลายใบมนกึ่งแหลม โคนใบมน ขอบใบจักซี่ฟัน ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม หนา มีขนสั้นสากมือ

ผล (Fruit) – ผลสดมีเนื้อ ทรงกลม สีเขียว เมื่อแก่สีม่วงดำ มีเมล็ดจำนวนมาก

ดอกพุทธรักษา






ลักษณะทั่วไป:
ต้น เป็นพรรณไม้ล้มลุก เนื้ออ่อน อวบน้ำ ลำต้นมีความสูงประมาณ 1-2 เมตร มีลำต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า เหง้า มีการเจริญเติบโตโดยแตกหน่อเป็นกอคล้ายกับกล้วย ลักษณะหน่อที่เจริญเป็นต้นเหนือพื้นดินนั้นมีลักษณะกลมแบนสีเขียวขนาดลำต้นโตประมาณ 2-4 เซนติเมตร
ใบ: ใบมีขนาดใหญ่สีเขียวโคนใบและปลายใบรีแหลม ขอบใบเรียบ กลางใบเป็นเส้นนูนเห็นได้ชัดโคนใบมีก้านใบซึ่งยาวเป็นกาบใบหุ้มลำต้นซ้อนสลับกัน ขนาดใบกว้างประมาณ 10-15 เซนติเมตรยาวประมาณ 25-35 เซนติเมตร
ดอก: สีแดง แสด เหลือง ชมพู ขาว ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะที่ปลายกิ่ง ทยอยบานทีละ 1-3 ดอก ช่อดอกยาว 15- 20 เซนติเมตร ช่อละ 8-10 ดอก กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ขนาดเล็กสีเขียวอ่อน กลีบดอก 3 กลีบ: ดอกบานเต็มที่กว้าง 8-9 เซนติเมตร มีเกสรตัวผู้ซึ่งเปลี่ยนรูปร่างไปเหมือนกลีบดอกมีขนาดใหญ่
ฝัก/ผล: ผลแห้งแตก ทรงกลม
เมล็ด: เมล็ดทรงกลม ขนาด 2-6 เซนติเมตร ผิวขรุขระ จำนวนหลายเมล็ด
ฤดูกาลออกดอก: ตลอดปี
การปลูก: ปลูกในแปลงปลูก และปลูกในกระถาง
การดูแลรักษา: ชอบแสงรำไร หรือแสงแดดจัดกลางแจ้ง ชอบดินเหนียวชุ่มชื้นและมีอินทรียวัตถุสูง หรือที่ระดับน้ำ 10-20 เซนติเมตร
การขยายพันธุ์: เพาะเมล็ด แยกหน่อ แยกเหง้า