วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

CentOS Authentication Server

CentOS Authentication Server

บทนํา

การพิสูจนตัวตน (Authentication)


การปกปองความมั่นคงปลอดภัยของระบบและขอมูลภายในองคกรถือเปนเรื่องสําคัญในปจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากการถูกคุกคามโดยผูไมประสงคดีหรือจากโปรแกรมบางประเภทไดเพิ่ม มากขึ้นและอาจนํามาซึ่งความเสียหายอยางมากตอองคกร ดังนั้นถาภายในระบบมีการควบคุม ความปลอดภัยที่ดีจะชวยลดโอกาสเสี่ยงตอการถูกคุกคามได เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพิสูจนตัวตนซึ่งเปนขั้นตอน พื้นฐานที่สําคัญของการควบคุมความปลอดภัย ในกระบวนการการพิสูจนตัวตนจะนําหลักฐานที่ผูใชกลาวอางมาตรวจสอบวาบุคคลที่กลาวอางนั้นเปนใครและไดรับอนุญาตใหสามารถเขาภายในระบบไดหรือไม การพิสูจนตัวตนมีหลายประเภทที่
ใชอยูในปจจุบัน เชน การพิสูจน ตัวตนโดยใชรหัสผานหรือโดยใชรหัสผานที่ใชเพียงครั้งเดียว เปนตน แตละชนิดนั้นจะมีขอดี ขอเสียแตกตางกันไปขึ้นอยูกับความจําเปนในการใชงาน ในระบบเครือขายแบบเปดหรืออินเตอรเน็ตนั้นกาพิสูจนตัวตนถือไดวาเปนกระบวนการเริ่มตนและมีความสําคัญที่สุดในการ ปกปองเครือขายใหปลอดภัย และกลาวถึงโพรโตคอลการสื่อสารที่มีการพิสูจนตัวตนที่นิยมใช ในปจจุบัน เชน Secure Socket Layer (SSL) Internet Security (IPsec)


การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐

ดวยในปจจุบันการติดตอสื่อสารผานระบบคอมพิวเตอรหรือระบบอิเล็กทรอนิกสเริ่มเขา ไปมีบทบาทและทวีความสําคัญเพิ่มขึ้นตามลําดับตอระบบเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของ ประชาชน แตในขณะเดียวกันการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรมีแนวโนมขยายวงกวาง และทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรนับเปนพยานหลักฐานสําคัญใน การดําเนินคดี อันเปนประโยชนอยางยิ่งตอการสืบสวน สอบสวนเพื่อนําตัวผูกระทําความผิดมา ลงโทษ จึงสมควรกําหนดใหผูใหบริการมีหนาที่ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ดังกลาว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๖ วรรค ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ดังนั้น รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดกําหนดหลักเกณฑไวดังตอไปนี้
ขอ ๑ ประกาศนี้ เรียกวา "หลักเกณฑการเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผู ใหบริการ พ.ศ. ๒๕๕๐"
ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม
ประกาศนี้
ขอ ๔ ในประกาศนี้
"ผูใหบริการ" หมายความวา
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย ประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
(๒) ผูใหบริการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น
"ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร" หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของ ระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลา ชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร นั้น บริการใชอินเทอรเน็ตและเครือขายทั่วไปในหนวยงานของตนเองอีกดวย.


"ระบบคอมพิวเตอร " หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนด คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ
"ผูใชบริการ" หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม
ขอ ๕ ภายใตบังคับของมาตรา ๒๖ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเภทของผูใหบริการซึ่งมีหนาที่ตองเก็บรักษาขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรแบงไดดังนี้
(๑) ผูใหบริการแกบุคคลทั่วไปในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกันโดย ประการอื่น ทั้งนี้โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น สามารถ
จําแนกได ๔ ประเภท ดังนี้
ก . ผู ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม แ ล ะ ก า ร ก ร ะ จ า ย ภ า พ แ ล ะ เ สี ย ง (Telecommunication and
Broadcast Carrier) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตาม ภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ข. ผูใหบริการการเขาถึงระบบเครือขายคอมพิวเตอร (Access Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการดังปรากฏตาม
ภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ค. ผูใหบริการเชาระบบคอมพิวเตอร หรือใหเชาบริการโปรแกรมประยุกตตาง ๆ (Host Service Provider) ประกอบ
ดวยผูใหบริการดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทาย ประกาศนี้
ง. ผูใหบริการรานอินเทอรเน็ต ดังปรากฏตามภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
(๒) ผูใหบริการในการเก็บรักษาขอมูลคอมพิวเตอรเพื่อประโยชนของบุคคลตาม (๑) (Content Service Provider) เชน ผูใหบริการขอมูลคอมพิวเตอรผานแอพพลิเคชั่นตาง ๆ (Application Service Provider) ประกอบดวยผูใหบริการ
ดังภาคผนวก ก. แนบทายประกาศนี้
ขอ ๖ ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่ผูใหบริการตองเก็บรักษา ปรากฏดังภาคผนวก ข. แนบทายประกาศนี้
ขอ ๗ ผูใหบริการมีหนาที่เก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ดังนี้
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๑
(๒) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๓) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ค. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๒ ตามประเภท ชนิดและหนาที่การใหบริการ
(๔) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ง. มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๓
(๕) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๒) มีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตาม
ภาคผนวก ข. ๔

ทั้งนี้ ในการเก็บรักษาขอมูลจราจรตามภาคผนวกตาง ๆ ที่กลาวไปขางตนนั้น
ใหผูใหบริการเก็บเพียงเฉพาะในสวนที่เปนขอมูลจราจรที่เกิดจากสวนที่เกี่ยวของกับบริการของตนเทานั้น
ขอ ๘ การเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ผูใหบริการตองใชวิธีการที่มั่นคงปลอดภัย ดังตอไปนี้
(๑) เก็บในสื่อ (Media) ที่สามารถรักษาความครบถวนถูกตองแทจริง (Integrity) และระบุตัวบุคคล (Identification)
(๒) ที่เขาถึงสื่อดังกลาวไดมีระบบการเก็บรักษาความลับของขอมูลที่จัดเก็บ และกําหนดชั้นความลับ ในการเขาถึงขอมูลดังกลาว เพื่อรักษาความนาเชื่อถือของขอมูล และไมใหผูดูแลระบบ สามารถแกไขขอมูลที่เก็บรักษาไว เชน การเก็บไวใน
Centralized Log Server หรือการ ทํา Data Archiving หรือทํา Data Hashing เปนตน เวนแตผูมีหนาที่เกี่ยวของที่เจาของหรือผูบริหารองคกร กําหนดใหสามารถเขาถึงขอมูลดังกลาวได เชน ผูตรวจสอบระบบ สารสนเทศขององคกร(IT Auditor) หรือบุคคลที่องคกรมอบหมาย เปนตน รวมทั้ง พนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้

(๓) จัดใหมีผูมีหนาที่ประสานงานและใหขอมูลกับพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดรับ การแตงตั้งตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อใหการสงมอบขอมูลนั้น เปนไปดวยความรวดเร็ว

(๔) ในการเก็บขอมูลจราจรนั้น ตองสามารถระบุรายละเอียดผูใชบริการเปน รายบุคคลได (Identification and Authentication) เชน ลักษณะการใชบริการ Proxy Server, Network Address Translation (NAT) หรือ Proxy Cache หรือ
Cache Engine หรือบริการ Free Internet หรือบริการ 1222 หรือ Wi-Fi Amnat-EDv2 ตองสามารถระบุ ตัวตนของผูใชบริการเปนรายบุคคลไดจริง
(๕) ในกรณีที่ผูใหบริการประเภทหนึ่งประเภทใด ในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ขางตน ได ใหบริการในนามตนเอง แตบริการดังกลาวเปนบริการที่ใชระบบของผูใหบริการซึ่งเปน บุคคลที่สาม เปนเหตุใหผูใหบริการในขอ ๑ ถึงขอ ๔ ไมสามารถรูได
วา ผูใชบริการที่เขา มาในระบบนั้นเปนใคร ผูใหบริการเชนวานั้นตองดําเนินการใหมีวิธีการระบุและยืนยัน ตัวบุคคล (Identification and Authentication) ของผูใชบริการผานบริการของตนเองดวย

ขอ ๙ เพื่อใหขอมูลจราจรมีความถูกตองและนํามาใชประโยชนไดจริง ผูใหบริการตองตั้งนาฬิกาของอุปกรณบริการทุกชนิดใหตรงกับเวลาอางอิงสากล (Stratum 0) โดยผิดพลาดไม เกิน ๑๐ มิลลิวินาที
ขอ ๑๐ ผูใหบริการซึ่งมีหนาที่เก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรตามขอ ๗ เริ่มเก็บขอมูล ดังกลาวตามลําดับ ดังนี้
(๑) ผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ก. เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพน สามสิบวัน นับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

(๒) ใหผูใหบริการตามขอ ๕ (๑) ข. เฉพาะผูใหบริการเครือขายสาธารณะหรือผู ใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP)เริ่มเก็บขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งรอยแปด สิบวันนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาผูใหบริการอื่นนอกจากที่กลาวมาในขอ ๑๐ (๑) และขอ ๑๐ (๒) ขางตน ใหเริ่มเก็บขอมูล จราจรทางคอมพิวเตอรเมื่อพนหนึ่งปนับจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ประกาศ ณ วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐


สิทธิชัย โภไคยอุดม

รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร



ความเปนมาของ Linux CentOS
เมื่อเราไดทําการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐ แลว ขั้นตอนตอไปจะเปนวิธีการติดตั้งระบบ OS ที่ใชในการจัดเก็บ และบริหารระบบงาน ในที่นี้เราจะใช CentOS 5.5 หากทานใดจะนําไปใชหรือพัฒนาตอเปน Linux Distribution ไหนก็ไดในปจจุบันซอฟตแวรสําหรับใชทําเปนระบบ Intranet หรือ Internet Server ขององคกรมีใหเลือกใชงานหลายตัวดวยกัน อาทิ เชน Windows Server (Windows Server 2003, Windows Server 2008), Linux Server (RedHat, Fedora, CentOS, Ubuntu, Debian, Slackware, SuSE, Mandriva, OpenNA, IPCop, Linux-SIS), BSD Server (FreeBSD, OpenBSD, NetBSD), Solaris (Sun Solaris, OpenSolaris) เปนตน การที่จะเลือกระบบปฏิบัติการตัวใดมาทําเซิรฟเวอรใชงานในองคกรนั้น สําหรับ Admin มือเกาไมนาเปนปญหามากนักเพราะไดทดสอบลองผิดลองถูกมาพอสมควร จะวาไปแลวในอดีตใครที่ติดตั้ง Linux และทําการคอนฟกใหระบบใชงานผานไดก็ถือวาเกงพอสมควร รวมทั้งหลังการติดตั้งเสร็จก็สามารถเปดใชงานไดตามปกติ นอยครั้งนักที่ระบบจะโดนแฮกซ แตหากเปน Admin นองใหมในปจจุบันการลองผิดลองถูกคงเปนการยากแลว เนื่องจากปจจุบันมีแฮกเกอรทั่วบานทั่วเมืองใครๆ ก็สามารถเรียนรูวิธีการแฮกซระบบเซิรฟเวอรผานเว็บ Google สําหรับ Admin นองใหมกวาจะทดลองสําเร็จบางครั้งระบบโดนเจาะไปเรียบรอยแลว


ระบบปฏิบัติการเครือขายลีนุกซที่ชื่อวา CentOS ยอมาจาก Community ENTerprise Operating System เปนลีนุกซที่พัฒนามาจากตนฉบับ RedHat Enterprise Linux (RHEL) โดยที่ CentOS ไดนําเอาซอรสโคดตนฉบับของ RedHat มาทําการคอมไพลใหมโดยการพัฒนายังเนน พัฒนาเปนซอฟตแวร Open Source ที่ถือลิขสิทธิ์แบบ GNU General Public License ในปจจุบัน CentOS Linux ถูกนํามาใชในการทํา Web Hosting กันอยางกวางขวางเนื่องจากเปนระบบปฏิบัติการที่มีตนแบบจาก RedHat ที่มีความแข็งแกรงสูง (ปจจุบันเนนพัฒนาในเชิง การคา) การติดตั้งแพ็กเกจยอยภายในสามารถใชไดทั้ง RPM, TAR, APT หรือใชคําสั่ง YUM ใน การอัปเดทซอฟตแวรแบบอัตโนมัติ สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต


เหตุผลหลักที่องคกรจะเลือกใชระบบ CentOS

สําหรับองคกรธุรกิจเหมาะสมอยางมากที่จะนําระบบตัวลีนุกซตัวนี้มาทําเปน เซิรฟเวอร ใชงานภายในองคกร
โดยพอสรุปเหตุผลหลักในการนําระบบนี้มาใชงานไดดังนี้
1. เพื่อประหยัดงบประมาณขององคกร เนื่องจาก CentOS เปนซอฟตแวรโอเพนซอส องคกรไมจําเปนตองจายคา ลิขสิทธซอฟตแวร (เพียงแตผูดูแลระบบตองลงทุนเรียนรูระบบกอน การใชงาน ในปจจุบันสามารถเรียนรูไดงายดายผานทาง
หนาเว็บ Google.com)

2. เพื่อนํามาทําเซิรฟเวอรบริการงานตางๆ ในองคกร ซึ่งภายใน CentOS มีแพ็กเกจยอยที่ นํามาใชทําเซิรฟเวอรสําหรับใช
งานในองคกรจํานวนมาก อาทิ เชน Web Server(Apache), FTP
Server(ProFTPd/VSFTPd),MailServer(Sendmail/Postfix/Dovecot),Database Server(MySQL/P ostgreSQL), File and Printer Server(Samba), Proxy Server(Squid), DNS Server(BIND), DHCP Server(DHCPd), Antivirus
Server(ClamAV), Streaming Server, RADIUS Server(FreeRADIUS), Control Panel(ISPConfig) เปนตน

3. เพื่อนํามาทําเปนระบบเซิรฟเวอรสําหรับจายไอพีปลอม (Private IP Address) ไปเลี้ยง เครื่องลูกขายในองคกร รวมทั้งตั้งเปนระบบเก็บ Log Files ผูใชงาน เพื่อใหสอดคลองกับพระ ราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอรป 2550



แพ็กเกจยอดนิยมสําหรับใชงานบนระบบ CentOS
สําหรับในแผน CD ของ CentOS มีแพ็กเกจที่สามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันทีจํานวนมาก โดยสามารถนํามาติดตั้งใชงานไดทันที สําหรับแพ็กเกจที่ไมมีอยูในแผน CD สามารถเขาไปดาวนโหลดไดที่เว็บไซต รวมเปน CD 6 แผน
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-1of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-2of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-3of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-4of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-5of6.iso
http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/CentOS-5.2-i386-bin-6of6.iso
อันนี้ link ที่อยูมันเลย http://mirror.unl.edu/centos/5.2/isos/i386/
Mirror : http://mirror1.ku.ac.th/centos-dvd/
คิดวาคงเพียงพอตอการใชงาน เพื่อที่จะเปนการยกระดับหรือพัฒนาความรู
ความสามารถในวงการ Admin ไทย



เตรียมความพรอมกอนการติดตั้ง
การทําระบบ Authentication + LOG นั้นจะตองมีอุปกรณในการทํางาน ดังตอไปนี้
1. SPEC COMPUTER
CPU ขั้นต่ําประมาณ 1.5 GHz
HDD ประมาณ 160 GB
RAM ประมาณ 512 MB
DVD-ROM (เพราะ CentOS 5.5 เปนแบบ DVD)
VGA ONBOARD (เพราะเราใชเปน TextMode)
อื่น ๆ SOUND USB ไมจําเปนในการติดตั้ง
2. NETWORK
LAN CARD 2 ใบ แนะนําใหเปน CARD ไมแนะนําใหเปน ONBOARD เพราะบางรุน CentOS 5.5 ไม สนับสนุนตัวอยางยี่หอที่แนะนําใหใชงาน Real Tek SMC Zyxel 3COM D-Link
3. สายแลน UTP 2 เสน
เสนที่ 1 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง Switch HUB ที่สามารถเชื่อมตอ Internet ได เสนที่ 2 เพื่อเชื่อมตอ Computer ไปยัง
Computer Client ที่จะใชในการ Config
4. OS Linux CentOS 5.5 DVD - I386
5. Computer Client ใชในการ Config คาตาง ๆ และใชในการทดสอบระบบ (แนะนํา ใหเปนNoteBook
เพื่องายตอการเคลื่อนยาย)
6. พื้นฐานในการใชงานระบบปฏิบัติการ DOS และ Network (เบื้องตน)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น